วันอังคารที่ 28 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ศึกษาดูงาน

รอกรรมการหน้าห้องอ่านข่าว
ดูการจัดนิทรรศการของเขตต่างๆ
ภายในห้องพัก ศรีสุขแกรนด์
ไปดูงานศิลปหัตถกรรมนักเรียนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ที่จังหวัดอุดร เมื่อวันที่ 23 - 25 ธัวนาคม 2553 และนำนักเรียนเข้าร่วมแข่งขัน 3 รายการ เด็กพิเศษ ที่โรงเรียนประจักษ์ศิลปาคาร  อุดรธานี  มี เล่านิทาน  อ่านออกเสียง   นักข่าวรุ่นเยาว์
ร่วมแสดงความยินดีกับผู้อำนวยการ ปริญญาเอก ที่ ม.ขอนแก่น



กีฬา 53

กีฬาตำบล 53 วันที่ 16-17 และ 21 ธันวาคม 2553  โรงเรียนบ้านหนองนำเต้าโนนสวน เป็นเจ้าภาพ ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการตัดสินกีฬาประเภทแฮนด์บอล และกรีฑา กรรมการจับเส้นชัย ร้อนมากๆ
ขบวนโรงเรียนบ้านหนองเทา

เพิ่มคำอธิบายภาพ


มอบรางวัลให้นักกีฬา

กีฬา 53

วันที่ 16 - 17 และ 21 ธันวาคม 2553  โรงเรียนบ้านหนองนำเต้าโนนสวน แต่งตั้งให้เป็นกรรมการตัดสินกีฬาแฮนด์บอล และกรรมการกรีฑากำกับเส้นขัย

วันจันทร์ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ข้าวจี่

โครงงานข้าวจี่ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2  อาหารว่างอีสาน ทานในหน้าหนาว
วัตถุประสงค์
1.นักเรียนสามารถคิดวิเคราะห์และวางแผนได้
2.นักเรียนลงมือปฏิบัติตามขั้นตอนได้
3.นักเรียนทำงานเป็นทีมและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
4.นักเรียนรายงานการจัดกิจกรรมได้

วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

งานวันประถมศึกษา 53

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2553 จัดกิจกรรมรำลึกวันประถมศึกษา ดูการออกร้านของครูแต่ละกลุ่ม CEO ในอำเภอกันทรารมย์ ติดใจกิจกรรมการแกะสลักและร้อยมาลัยของโรงเรียนบ้านดูนสิมและโรงเรียนบ้านหนองมะแซว

วันจันทร์ที่ 13 ธันวาคม พ.ศ. 2553

วันประถมศึกษา

ไปร่วมกิจกรรมย้อนรอยวันประถมศึกษา 25 พฤศจิกายน 2553 ชมนิทรรศการ ชอบกิจกรรมแกะสลัก และร้อยมาลัย ความสามารถนักเรียนต้องยอมรับ และแกะสลักเทียน
มีภาพมาให้ดู

วันศุกร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2553

โครงงานข้าวจี่

วันศุกร์ที่ 1 ตุลาคม 53 นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ทำโครงงานข้าวจี่ใส่ไข่ อร่อยมาก
ความเป็นมา  เนื่องจากชุมชนบ้านหนองเทาส่วนใหญ่จะทานข้าวเหนียวเป็นส่วนใหญ่ และข้าวเหนียวนำมาแปรรูปอาหารได้หลายอย่าง เช่น ทำขนม  ข้าวต้ม  ข้าวจี่  ข้าวกระยาสารท  ข้าวเหนียวมะม่วง ข้าวเหนียวทุเรียน เป็นต้น ข้าวจี่เป็นการทำอาหารที่ง่ายๆและทานเล่นๆ โดยเฉพาะในฤดูหนาว ชาวบ้านจะนั่งผิงไฟและนำข้าวมาจี่ จะใส่ไข่ก็ได้หรือไม่ใส่ก็ได้ และยังมีความสำคัยกับประเพณีท้องถิ่น คือประเพณีบุญข้าวจี่
วัสดุอุปกรณ์
ข้าวสารเหนียวนำมาแช่นำ ประมาณ 4-6 ชั่วโมง
ไข่ไก่ จำนวน  5-6 ฟอง นำมาตีให้เข้ากันเติมเครื่องปรุง ได้แก่ เกลือเล็กน้อย นำตาลเล็กน้อย ซีอิ้วขาว ปรุงรสตามชอบ
ข้าวสารเหนียว(แช่นำประมาณ 4-6 ชั่วโมง)

ไข่ไก้ มากน้อยขึ้นอยู่กับว่าทำมากน้อย

เกลือและนำตาล ประมาณ 2 ช้อนโต๊ะ(ขึ้นอยู้กับว่าทำมากน้อย)
ซีอิ้วขาว  ตะเกียบหรือส้อม
หวด  หม้อนึ่ง เตา
ถ่าน

เหล็กย่าง
ก่อไฟ
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันก่อไฟ
เทข้าวที่แช่แล้วลงในหวดแล้วล้างนำซาวข้าวออกให้สะอาด
กำลังนึ่งข้าว
ข้าวที่นึ่งสุกแล้วพักไว้
การผสมไข่ 
ต่อยไข่ใส่ชาม 5-6 ฟอง (ไม่จำกัดจำนวน)
ตีไข่ให้แตกให้ไข่ขาวและไข่แดงเข้ากันดี
ผสมส่วนผสมทุกอย่างเข้าด้วยกัน
ขั้นตอนการปั้นข้าว
สมาชิกในกลุ่มช่วยกันปั้นข้าว ให้เป็นกลมๆ

 








ทัศนศึกษาช่วงชั้นที่ 1

วันที่ 17 กันยายน 2553 นำนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ไปทัศนศึกษา ที่ปราสาทสระกำแพงน้อย สระกำแพงใหญ่ที่อำเภออุทุมพรพิสัย วัดพระธาตุเรืองรอง อำเภอเมือง  สวนสัตว์ศรีสะเกษ  พาลิงไปหาเพื่อน ถ่ายภาพกับวัวใหญ

กำลังเดินทางอยู่บนรถทัวร์

ถึงวัดแล้วครับ
ถ่ายภาพกับกรูปี (วัวป่า)
ตีฆ้องให้ดังกังวานจะมีบูญ



วันพุธที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2553

กิจกรรมวันพฤหัสบดีที่ 8 ก.ย.53

ขนมที่เกี่ยวกับประเพณีท้องถิ่น ประเพณีบุญข้าวประดับดิน  ประเพณีบุญข้าวสาก นิยมห่อข้าวต้มเพื่อนำไปถวายพระ เช่น ข้าวต้มมัด ข้าวต้มผัด  ขนมเทียน ข้าวต้มต้มหางยาว(ทำจากใบมะพร้าว)
ในที่นี้จะกล่าวถึงข้าวต้มมัดนะคะ ประหยัดและขั้นตอนการทำที่ไม่ยุ่งยากเท่าไร

       การเตรียมวัสดุอุปกรณ์  มี ข้าวเหนียว(ข้าวสาร)
กล้วย ตอก ใบตอง เมล็ดถั่วดำ (มีก็ได้ไม่มีก็ได้)



ขั้นลงมือห่อเป็นกลุ่ม

วันอังคารที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2553

กล้าใหม่ ใฝ่รู้

วันที่ 9-10 กันยายน 53 นำนักเรียนไปร่วมกิจกรรม กล้าใหม่ใฝ่รู้ โครงการวาดภาพระบายสีของธนาคารไทยพาณิชย์ ที่ เดอะมอลล์ โคราช ได้รับรางวัลชมเชย กลับบ้านนะกระแต


เข้าห้องพักที่โรงแรม ดิแอร์พอร์ต


ผลงานเราเองหนองเทา

วันอังคารที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2553

เรียนรู้ประเพณีฮีต 12 คอง 14

ประเพณีบุญเดือน 9 บุญข้าวประดับดิน  ตรงกับวันขึ้น 14 คำ เดือน 9
ความสำคัญ


ประเพณีบุญข้าวประดับดิน เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับสัตว์นรกหรือเปรต

พิธีกรรม ประกอบด้วย
๑. วันแรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๙ ชาวบ้านจะเตรียมข้าวต้ม ขนม อาหารคาวหวาน หมาก พลู และบุหรี่ไว้
๒. วันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ ชาวบ้านจะไปวัดตั้งแต่เวลาตี ๔ นำสิ่งของที่เตรียมไว้จัดใส่กระทงหรือเย็บเป็นห่อเหมือนข้าวสาก แล้ววางแจกตามบริเวณวัด โดยวางไว้กับพื้นดิน หรือบางคนก็ฝังดิน
๓. ชาวบ้านกลับบ้านเพื่อเตรียมอาหารทำบุญที่วัดอีกทีหนึ่ง เมื่อพระสงฆ์ฉันเช้าเสร็จก็จะเทศน์ฉลองบุญข้าวประดับดิน

สาระ
โบราณท่านเขียนไว้ในหนังสือฉลอง ความว่า "ครั้งที่มหาโมคคัลลาน์แทรกแผ่นดินลงไปเยือนนรก ซึ่งเขากำลังเสวยกรรมอยู่ในแดนต่างๆ พอท่านไปถึงก็บันดาลให้ไฟนรกดับ สัตว์นรกก็ไม่ได้เสวยกรรม พอท่านจะกลับมายังโลกมนุษย์พวกสัตว์นรกได้สั่งท่านให้มาบอกญาติพี่น้องทางโลกได้ทราบ และทำทานอุทิศส่วนกุศลไปให้บ้าง เมื่อพระโมคคัลลาน์กลับมาถึงชมพูทวีปก็ประกาศข่าวนี้ให้ประชาชนทราบ ซึ่งวันนั้นตรงกับวันดับเดือนเก้า (วันแรม ๑๕ ค่ำ)จึงถือเอาวันดังกล่าวเป็นวันทำบุญข้าวประดับดิน"

สาเหตุที่ต้องทำพิธีตั้งแต่เช้ามืดเพราะเชื่อว่าพญายมราชปล่อยผีเปรตให้มีเวลาอยู่บนโลกมนุษย์เพียง ๒ ชั่วโมง จากตี ๔ ถึง ๖ โมงเช้า และที่ต้องวางเครื่องไทยทานไว้กับพื้นดินนั้นเพื่อให้เปรตรับเอาง่ายๆ โดยไม่ต้องมีพิธีรีตอง เดี่ยวจะกลับไม่ทันเวลา
(ภาพจะลงทีหลัง)

เข้าวัดเอาบุญ

นำนักเรียนไปทำความสะอาดวัดป่าศรีปางนา วันที่ ๗ กันยายน ๕๓ วันขึ้น ๑๔ คำ เดือน ๙ (บุญเดือน ๙)
ความสำคัญ

ไปวัดทำบุญ

๗ กันยายน 53 เวลา 13.30 น. นำนักเรียนไปทำความสะอาดวัดป่าศรีปางนา เตรียมทำบุญข้าประดับดิน ในวันที่ ๘ กันยายน 53 ขึน ๑๔ คำ เดือน 9(บุญเดือน ๙) ประเพณีฮีต ๑๒ คอง ๑๔ ขิองเฮาชาวอีสาน
ความสำคัญ

ประเพณีบุญข้าวประดับดิน เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว และเพื่ออุทิศส่วนกุศลให้กับสัตว์นรกหรือเปรต
พิธีกรรม ประกอบด้วย
๑. วันแรม ๑๓ ค่ำ เดือน ๙ ชาวบ้านจะเตรียมข้าวต้ม ขนม อาหารคาวหวาน หมาก พลู และบุหรี่ไว้
๒. วันแรม ๑๔ ค่ำ เดือน ๙ ชาวบ้านจะไปวัดตั้งแต่เวลาตี ๔ นำสิ่งของที่เตรียมไว้จัดใส่กระทงหรือเย็บเป็นห่อเหมือนข้าวสาก แล้ววางแจกตามบริเวณวัด โดยวางไว้กับพื้นดิน หรือบางคนก็ฝังดิน
๓. ชาวบ้านกลับบ้านเพื่อเตรียมอาหารทำบุญที่วัดอีกทีหนึ่ง เมื่อพระสงฆ์ฉันเช้าเสร็จก็จะเทศน์ฉลองบุญข้าวประดับดิน

สาระ
โบราณท่านเขียนไว้ในหนังสือฉลอง ความว่า "ครั้งที่มหาโมคคัลลาน์แทรกแผ่นดินลงไปเยือนนรก ซึ่งเขากำลังเสวยกรรมอยู่ในแดนต่างๆ พอท่านไปถึงก็บันดาลให้ไฟนรกดับ สัตว์นรกก็ไม่ได้เสวยกรรม พอท่านจะกลับมายังโลกมนุษย์พวกสัตว์นรกได้สั่งท่านให้มาบอกญาติพี่น้องทางโลกได้ทราบ และทำทานอุทิศส่วนกุศลไปให้บ้าง เมื่อพระโมคคัลลาน์กลับมาถึงชมพูทวีปก็ประกาศข่าวนี้ให้ประชาชนทราบ ซึ่งวันนั้นตรงกับวันดับเดือนเก้า (วันแรม ๑๕ ค่ำ)จึงถือเอาวันดังกล่าวเป็นวันทำบุญข้าวประดับดิน"

สาเหตุที่ต้องทำพิธีตั้งแต่เช้ามืดเพราะเชื่อว่าพญายมราชปล่อยผีเปรตให้มีเวลาอยู่บนโลกมนุษย์เพียง ๒ ชั่วโมง จากตี ๔ ถึง ๖ โมงเช้า และที่ต้องวางเครื่องไทยทานไว้กับพื้นดินนั้นเพื่อให้เปรตรับเอาง่ายๆ โดยไม่ต้องมีพิธีรีตอง เดี่ยวจะกลับไม่ทันเวลา

วันศุกร์ที่ 3 กันยายน พ.ศ. 2553

งานศิลป์พฤหัสบดี

กิจกรรมวันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน 53  งานศิลป์สร้างสรรค์ จากมือน้อยๆ  หัวข้อรักโลก   เรารักธรรมชาติ  แหล่งท่องเที่ยวบ้านฉัน
เตรียมวัสดุอุปกรณ์ ผ้าฝ้าน สีตามต้องการ



เตรียมลงมือทำ ร่วมกันคิดหัวข้อ

ได้หัวข้อเรารักธรรมชาติ

ครูช่วยแนะนำ
ช่วยกันหลายๆคนจะได้งานสร้างสรรค์
ใช้เส้นเล็กตัดเส้นภาพจะได้คม


เสร็จงานศิลป์สร้างสรรค์เรารักธรรมชาติค่ะ

พู่กันลงสีใช้หลายขนาด

วันพุธที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2553

กิจกรรมวันพฤหัสลดีที่ 26 ส.ค.53

กิจกรรมปรับปรุงป่านประตูหน้าโรงเรียน วันพฤหัสบดี ที่ 26 สิงหาคม 2553

กิจกรรมวันพฤหัสลดีที่ 26 ส.ค.53

กิจกรรมวันพฤหัสบดีที่ 26 สิงหาคม 2553 ปลูกต้นไม้บริเวณชุมชนและภายในบริเวณโรงเรียน
ปรับปรุงพัฒนาปลูกไม้ดอกหน้าประตูโรงเรียน ป้ายโรงเรียน ครูผ่องศรี และครูจิรศักดิ์ และนักเรียนชายชั้นประถมศึกษาปีที่ 5,6 ชั้นป.2 ปลูกต้นไม้ประจำชีวิต มีต้นกล้วย มะม่วง มะยม มะละกอ